Thai Habitation Laws


The right of habitation is the right of dwelling gratuitously in a house of another person. As one of Thailand's real rights of book 4 of the civil and commercial code the right of habitation must be registered with the land office to be complete and enforceable. The right of habitation cannot be encumbered, sold, transferred, donated or transferred at death. The right of habitation is a personal servitude.

TITLE V

HABITATION (ARSAI)

table of contents

Section 1402. A person who has been granted a right of habitation (arsai) in a building is entitled to occupy such building as a dwelling place without paying rent.

Section 1403. A right of habitation may be created either for a period of time or for the life of the grantee.

If no time has been fixed, such right may be terminated at any time by giving reasonable notice to the grantee.

If it is granted for a period of time, the period may not exceed thirty years; if a longer period is stipulated, it shall be reduced to thirty years. The grant may be renewed for a period not exceeding thirty years from the time of renewal.

Section 1404. The right of habitation is not transferable even by way of inheritance.

Section 1405. Unless the right of habitation is expressly limited to be for the benefit of the grantee personally, the members of his family and his household may dwell with him.

Section 1406. Unless expressly forbidden by the grantor, the grantee may take such natural fruits or products of the land as are necessary for the needs of his household.

Section 1407. The grantor is not bound to maintain the property in a good state of repair.

The grantee cannot claim reimbursement of expenses made by him for improvements to the property.

Section 1408. When the right of habitation comes to an end the grantee must return the property to the grantor.

Section 1409. The provisions of this Code concerning Duties and Liabilities of the Hirer, as specified in Sections 552, 555, 558, 562 and 563 shall apply mutatis mutandis.

table of contents

Prev Next

In Thai:

ลักษณะ 5 อาศัย

มาตรา 1402 บุคคลใดได้รับสิทธิอาศัยในโรงเรือน บุคคลนั้นย่อมมี สิทธิอยู่ในโรงเรือนนั้นโดยไม่ต้องเสียค่าเช่า 

มาตรา 1403 สิทธิอาศัยนั้น ท่านว่าจะก่อให้เกิดโดยมีกำหนดเวลาหรือ ตลอดชีวิตของผู้อาศัยก็ได้ ถ้าไม่มีกำหนดเวลา ท่านว่าสิทธินั้นจะเลิกเสียในเวลาใด ๆ ก็ได้ แต่ ต้องบอกล่วงหน้าแก่ผู้อาศัยตามสมควร ถ้าให้สิทธิอาศัยโดยมีกำหนดเวลา กำหนดนั้นท่านมิให้เกินสามสิบปีถ้า กำหนดไว้นานกว่านั้น ให้ลดลงมาเป็นสามสิบปี การให้สิทธิอาศัยจะต่ออายุ ก็ได้ แต่ต้องกำหนดเวลาไม่เกินสามสิบปีนับแต่วันทำต่อ

มาตรา 1404 สิทธิอาศัยนั้นจะโอนกันไม่ได้แม้โดยทางมรดก

มาตรา 1405 สิทธิอาศัยนั้นถ้ามิได้จำกัดไว้ชัดแจ้งว่าให้เพื่อประโยชน์ แก่ผู้อาศัยเฉพาะตัวไซร้ บุคคลในครอบครัวและในครัวเรือนของผู้อาศัยจะอยู่ ด้วยก็ได้

มาตรา 1406 ถ้าผู้ให้อาศัยมิได้ห้ามไว้ชัดแจ้ง ผู้อาศัยจะเก็บเอาดอก ผลธรรมดาหรือผลแห่งที่ดิน มาใช้เพียงที่จำเป็นแก่ความต้องการของครัว เรือนก็ได้

มาตรา 1407 ผู้ให้อาศัยไม่จำต้องบำรุงรักษาทรัพย์สินให้อยู่ในความ ซ่อมแซมอันดี ผู้อาศัยจะเรียกให้ชดใช้ค่าใช้จ่าย ซึ่งได้ออกไปในการทำให้ทรัพย์สินดีขึ้น หาได้ไม่

มาตรา 1408 เมื่อสิทธิอาศัยสิ้นลง ผู้อาศัยต้องส่งทรัพย์สินคืนแก่ผู้ให้อาศัย

มาตรา 1409 ท่านให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ว่าด้วยหน้าที่ และความรับผิดของผู้เช่าอันกล่าวไว้ใน มาตรา 552 ถึง มาตรา 555 มาตรา มาตรา 558 มาตรา 562 และ มาตรา 563 มาใช้บังคับโดยอนุโลม

table of contents